ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์
แสง 40 Hz ถูกวิจัย
โดยนักประสาทวิทยา
และผู้เชี่ยวชาญทางด้าน Neuroscience จากสถาบันระดับโลก อีกทั้งยังได้รับรางวัลจาก
งานการประชุมนานาชาติโรคอัลไซเมอร์และพาร์กินสัน (AD/PD) ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี
ปี 2016
นิตยสาร Nature เล่มที่ 540, หน้า 230-235 (2016)
ศาสตราจารย์ Li-Huei Tsai และทีมจาก the Department of Brain and Cognitive Sciences at the Massachusetts Institute of Technology (MIT).
ได้เผยแพร่งานวิจัยเรื่อง "Gamma frequency entrainment attenuates amyloid load and modified microglia"บน
นิยสาร Nature"โดยเผยให้เห็นว่า
"แสง 40Hz" สามารถกระตุ้นคลื่นแกมมา
ในสมองของหนูที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ได้
ทำให้บีตา-แอมีลอยด์ ในสมองลดลง และทำให้ไมโครเกลีย (microglia) ที่ทำหน้าที่กำจัดของเสียและซ่อมแซมเซลล์ที่เสีย
หายให้ทำงานได้ดีขึ้น
ปี 2021
การประชุมโรคอัลไซเมอร์และพาร์กินสัน AD/PD™
จะนำเสนอความก้าวหน้าล่าสุดทั้งหมดในการรักษา การวิจัยและพัฒนา การวินิจฉัยในระยะเริ่มต้น
การพัฒนายา และการทดลองทางคลินิก
ในโรคอัลไซเมอร์ พาร์กินสัน และโรคทางระบบประสาทที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
พ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021/PD) ทีมวิจัยได้รายงานผลทางคลินิกระยะที่ 2 ในการประชุมโรคอัลไซเมอร์และพาร์กินสัน เกี่ยวกับการรักษาผู้ป่วยอัลไซเมอร์ โดยใช้การกระตุ้นเซลล์ประสาทด้วยด้วยแสงและเสียง 40 Hz (Digital therapy)
กับผู้ป่วย 76 ราย อายุมากกว่า 50 ปี ที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ระดับเล็กน้อยถึงปานกลาง ในระยะเวลา 6 เดือน ผู้ป่วยได้รับการสุ่มให้ได้รับการการกระตุ้นด้วยแสงและเสียง 40Hz เป็นเวลา 1 ชั่วโมงต่อวันที่บ้าน
"พบว่าอัตราการเสื่อมของความจำ
และความสามารถในการรับรู้ ลดลงถึง 83%
และการฝ่อของสมองลดลง 61%"
ปี 2023
ศาสตราจารย์ Yang, Yuan-Han ผู้อำนวยการสถาบันวิจัย Neuroscience ผู้เชี่ยวชาญด้าน Neuroscience มหาวิทยาลัย
การแพทย์เกาสง ได้ทำการวิจัย
・เซลล์ SH-SY5Y ถูกใช้เป็นแบบจำลองในหลอดทดลองการทำงานของเซลล์ประสาทและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เป็นวิธีที่ใช้ศึกษาในหลายสาขาของประสาทวิทยาศาสตร์ รวมถึงโรคพาร์กินสัน
โรคอัลไซเมอร์ ความเป็นพิษต่อระบบประสาท โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง และยังสามารถใช้ศึกษาเซลล์สมองและคุณลักษณะอื่น ๆ ของการสร้างเซลล์ประสาท
・ในการทดลองนี้ ใช้โคมไฟ ZUREE ฉายแสงความถี่ 40 Hz ไปที่เซลล์ SH-SY5Y และเปรียบเทียบกับเซลล์ที่ไม่ได้ฉายแสง เพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนภายในเซลล์
・ภาพด้านซ้ายแสดงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณโปรตีนที่สังเกตได้จาก Western blot test (เป็นเทคนิคที่ใช้ติดตามโปรตีนที่สนใจในสารตัวอย่าง) สีที่เข้มกว่าหมายถึงปริมาณโปรตีนที่สูงขึ้น และสีที่อ่อนกว่าหมายถึงปริมาณโปรตีนที่ต่ำกว่า
・ผลการทดลอง ในเซลล์ที่ฉายแสงความถี่ 40 Hz ปริมาณการ phosphorylated ของโปรตีน 2 ชนิดคือโปรตีน Tau และโปรตีน mTOR ลดลงอย่างมาก ซึ่งบ่งชี้ว่าแหล่งกำเนิดแสงสามารถยับยั้ง
การ phosphorylated ได้
ภาพการทดลองการฉายแสง 40 Hz ไปที่เซลล์ SH-SY5Y
จากภาพ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า
ฝั่งที่ได้ใช้แสง 40 Hz กระตุ้น
โปรตีนที่ทำร้ายสมอง ลดลงอย่างมาก
・โปรตีน Tau และโปรตีน mTOR ซึ่งเป็นโปรตีนที่ไม่ดี 2 ชนิด ถือว่าเป็นสาเหตุหลักของภาวะสมองเสื่อมหากมีการสะสม
・โปรตีน Aβ40, Aβ42 และ tau ในน้ำไขสันหลังถือเป็นปัจจัยบ่งชี้ทางพยาธิวิทยาที่ทำให้เกิดโรคสมองเสื่อม
・จากผลการทดลองทางด้านซ้าย สรุปได้ว่า
การหลั่งของ (Aβ42) ในเซลล์ประสาท ถูกยับยั้ง
Aβ42 เป็นโปรตีนไม่ดี ซึ่งลดลงอย่างมาก
หลังจากได้รับแสง 40 Hz
・จากผลลัพธ์ทางด้านซ้าย สรุปได้ว่า
แสง 40 Hz สามารถยับยั้ง
การรวมตัวของโปรตีนอะไมลอยด์ (Aβ42) ได้
・กลไกทางพยาธิสภาพของภาวะสมองเสื่อม การหลั่งของ amyloid protein Aβ42 จะเพิ่มขึ้น และโปรตีนเหล่านี้จะรวมตัวกัน แล้วก็จะตก
ตะกอนในสมอง ผลการศึกษานี้พบว่า มีการลดการหลั่งของโปรตีนแอมีลอยด์ ตราบเท่าที่การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพสามารถลดลงได้
เป็นสิ่งที่ดีสำหรับผู้ป่วย
ภาพเปรียบเทียบกัน
ระหว่างฉายแสง 40 Hz และไม่ฉายแสง 40 Hz
2023 AD/PD international conference paper
2023 AD/PD international conference paper
ปี 2024
ผลงานวิจัยได้รับรางวัล
ในงานงานประชุม AD/PD ปี 2024
ZUREE Brain care light
ได้นำไปใช้กับผู้ป่วยอัลไซเมอร์
เป็นระยะเวลา 4 ชั่วโมง/วัน
5 วัน/สัปดาห์ ระยะเวลา 3 เดือน
การทดลองพบว่าโคมไฟ ZUREE สามารถ
ลดปัญหาพฤติกรรมของผู้ป่วย
ภาพการนำโคมไฟ ZUREE นำไปใช้กับผู้ป่วย
ลดอาการซึมเศร้า
ลดภาระของผู้ดูแล